รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร ขอเชิญนักศึกษาที่จะสอบวิชา น.๓๙๒ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรวมกลุ่มของประชาคมอาเซียน  ทำปรนัยวิเคราะห์ เรื่อง "ภาพรวมของประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม”  เพื่อเตรียมความคิดเพื่อเข้าสู่การสอบ https://forms.gle/YJChgyKwQMQpEjp98
ความเป็นมาของเอกสาร
  1. เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔
  2. เอามาให้นักศึกษาในห้องเรียนกฎหมายอาเซียนที่นิติธรรมศาสตร์รังสิตซ้อมสอบเมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๕
Email *
เลขทะเบียนนักศึกษาหรือมวลมิตรของผู้วัดความรู้
ขอให้นักศึกษาระบุวิทยาเขตหรือศูนย์ที่สังกัด
Clear selection
ขอให้นักศึกษาระบุสถานะชั้นปีในมหาวิทยาลัย
Clear selection
(๑.) ข้อความคิดที่นำมาเป็นฉากทัศน์ของการทำปรนัยวิเคราะห์
(๑.๑.) ภาพรวมของเสาหลักของประชาคมอาเซียน - อารัมภบทของกฎบัตรสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระบุว่า   "เรา บรรดาประชาชนของรัฐสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) โดยมีประมุขรัฐหรือหัวหน้ ารัฐบาลของบรูไนดารุสซาลามราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิ ลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นผู้แทน ..... ผูกพันที่จะเร่งสร้างประชาคมโดยผ่านความร่วมมือและการรวมตัวในภูมิภาคที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนตามที่ระบุไว้ในปฏิญญาบาหลีว่าด้วยข้อตกลงอาเซียนฉบับที่ 2"
(๑.๒.) หัวใจสำคัญของประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ก็คือ ความมุ่งมั่นยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ผ่านกิจกรรมความร่วมมือที่ให้ความสำคัญกับประชาชน ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมุ่งไปสู่การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน  เราจะเห็นว่า ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนจึงขับเคลื่อนโดยการดำเนินการตาม (1) วิสัยทัศน์ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ปี ค.ศ. ๒๐๒๕ (ASEAN Socio-Cultural Community Vision 2025) ซึ่งมุ่งให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีปฏิสัมพันธ์กับประชาชนและประชาชนได้รับประโยชน์ รวมทั้งทุกคนมีส่วนร่วม มีความยั่งยืน แข็งแกร่ง และพลวัตภายในปี ค.ศ. ๒๐๒๕ และ (2) แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ปี ค.ศ. ๒๐๑๖/๒๐๒๕  (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint 2016-2025) ซึ่งเป็นทั้งยุทธศาสตร์และกลไกการวางแผนการทำงานของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีคุณลักษณะ ๕ ข้อ ได้แก่ (๑) มีปฏิสัมพันธ์และเป็นประโยชน์ต่อประชาชน (๒) ความครอบคลุม (๓) ความยั่งยืน (๔) ภูมิคุ้มกัน และ (๕) มีพลวัตกรอบความร่วมมือภายใต้เสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย ๑๕ สาขา ดังนี้ การศึกษา กีฬา วัฒนธรรมและศิลปะ สารสนเทศ แรงงาน เยาวชน สตรี เด็ก ราชการพลเรือน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากชน สาธารณสุข การจัดการภัยพิบัติ มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน และสิ่งแวดล้อม  https://asean2019.go.th/th
(๒.) จงวัดความรู้เกี่ยวกับเสาหลักอาเซียนทางสังคมและวัฒนธรรม ๕ ข้อ ดังต่อไปนี้ โดยการเลือกคำตอบที่ท่านเห็นว่า "ถูกต้อง" เพียงคำตอบเดียว
๑.ข้อใดดังต่อไปนี้ "ถูกต้อง" เกี่ยวกับเสาหลักอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม
1 point
Clear selection
๒.ข้อใดดังต่อไปนี้  “มิใช่” ประเด็นที่จัดอยู่ในงานของเสาหลักอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม
1 point
Clear selection
๓.ข้อใดดังต่อไปนี้  “มิใช่” เป้าหมายของงานอาเซียนด้านสังคม
1 point
Clear selection
๔.ข้อใดดังต่อไปนี้  “มิใช่” เป้าหมายของงานอาเซียนด้านวัฒนธรรม
1 point
Clear selection
๕.งานในข้อใดดังต่อไปนี้  "มิใช่" งานภายใต้วัตถุประสงค์ของอาเซียนตามข้อ ๑ แห่ง "กฎบัตรอาเซียน" ค.ศ.๒๐๐๗/พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งบัญญัติว่า " (๑๑) เพื่อเพิ่มพูนความเป็นอยู่ที่ดีและการดำรงชีวิตของประชาชนอาเซียนด้วยการให้ประชาชนมีโอกาสที่ทัดเทียมกันในการเข้าถึงการพัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม และความยุติธรรม" https://docs.google.com/document/d/18Ke2QEuYl70vyzbju4aUGxYpdprC2ErJOz8Iz9DQEdU/edit?usp=sharing
1 point
Clear selection
ชวนนักศึกษาทบทวนเรื่องเสาหลักทางสังคมและวัฒนธรรมในกฎบัตรสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ "กฎบัตรอาเซียน" ค.ศ.๒๐๐๗/พ.ศ.๒๕๕๐ https://docs.google.com/document/d/18Ke2QEuYl70vyzbju4aUGxYpdprC2ErJOz8Iz9DQEdU/edit?usp=sharing 
A copy of your responses will be emailed to the address you provided.
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
reCAPTCHA
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy