Post-Test อบรมปฏิบัติการ เรื่อง เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก พ.ศ. 2564-2565
คำชี้แจง ขอให้ท่านเลือกเครื่องหมายถูกหรือผิด
Sign in to Google to save your progress. Learn more
Email *
คำนำหน้า *
ชื่อ - สกุล *
1. การประเมินคุณภาพภายนอกเน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน เป็นหนึ่งในในแนวคิดหลักของการประเมินคุณภาพภายนอก     *
1 point
2. การรับรองสถาบันอุดมศึกษา หมายถึง การรับรองผลการประเมินคุณภาพภายนอกว่าเป็นไปตามข้อกำหนดตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 *
1 point
3. กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ประกอบด้วย 5 ด้าน 12 องค์ประกอบ 32 ประเด็นพิจารณา *
1 point
4. การประเมินคุณภาพภายนอก พ.ศ. 2564-2565 พิจารณาผลการดำเนินงานย้อนหลัง 3 ปี *
1 point
5. ด้านที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สอดคล้องกับมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 มาตรฐานที่ 1 ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน *
1 point
6. มหาวิทยาลัยต้องนำส่งแบบฟอร์ม PA2-1 บทสรุปผู้บริหาร และ PA2-2 แบบสำรวจตนเอง ให้แก่ สมศ. ประกอบการประเมิน *
1 point
7. หากมีผลการดำเนินงานที่เป็นไปตามาตรฐานการอุดมศึกษาร้อยละ 50 ขึ้นไปของประเด็นพิจารณา สมศ. จะดำเนินการประเมิน 1 วัน *
1 point
8. รายงานประชุมบุคลากร เพื่อรับมอบนโยบายในการปฏิบัติงาน สามารถเป็นหลักฐานประกอบด้านที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ *
1 point
9. ด้านที่ 2 คุณภาพบัณฑิต จะวัดผลการทดสอบภาษาอังกฤษเฉพาะนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอก *
1 point
10. มหาวิทยาลัยมีการดำเนินงานตามแผน แต่ไม่มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบและกลไกในการดำเนินงานให้บรรลุตามเป้าหมายของสถาบัน ถือว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา *
1 point
11. นักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกชั้นปีสุดท้ายผ่านเกณฑ์การวัดผล CEFR ระดับ B2 ขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 จึงจะถือว่าเป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา *
1 point
12. ประเด็นพิจารณา 32 ประเด็น ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ยกเว้นประเด็นการทดสอบภาษาอังกฤษและหลักสูตรได้รับการรับรองจากนานาชาติ เป็นข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ *
1 point
13. พิจารณาตามเกณฑ์ของ สกอ. หมายถึง ผลลัพธ์การดําเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์ของ สกอ. *
1 point
14. คำว่า “Digital literacy” ในประเด็นการพิจารณาที่ 3 (7) ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 หมายถึง ความสามารถสําหรับการเรียนรู้ดิจิทัล แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ใช้ (Use) หมายถึง ความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จําเป็นในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เข้าใจ (Understand) คือความสามารถที่จะเข้าใจบริบทที่เกี่ยวข้องกับการประเมินสื่อดิจิทัล สร้าง (Create) คือ ความสามารถในการสร้างเนื้อหาที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้สื่อดิจิทัลในรูปแบบต่าง ๆ *
1 point
15. ด้านที่ 3 คุณภาพงานวิจัย ใช้ข้อมูลผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำ/นักวิจัย ปีการศึกษาปัจจุบันในการประเมินเท่านั้น *
1 point
16. กรณีไม่มีผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามประเด็นพิจารณา โปรดระบุเหตุผลประกอบในแบบฟอร์ม PA2-2 แบบสำรวจตนเอง *
1 point
17. ผู้ประเมินจะวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผ่านแบบฟอร์ม PA2-1 บทสรุปผู้บริหาร PA2-2 แบบสำรวจตนเอง และเอกสารหลักฐานประกอบตาม PA2-2 เท่านั้น *
1 point
18. หนังสือยืนยันถึงการใช้ประโยชน์ไม่สามารถเป็นหลักฐานประกอบการประเมินในประเด็นพิจารณาผลการประเมินงานบริการวิชาการจากหน่วยงานที่ร้องขอสามารถทําให้เกิดประโยชน์ได้จริง *
1 point
19. แบบฟอร์ม PA2-1 บทสรุปผู้บริหาร เป็นแบบฟอร์มสำหรับนำเสนอข้อมูลผลการดำเนินงานด้านที่ 1ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ *
1 point
20. สมศ.จะเป็นผู้กำหนดช่วงเวลาในการประเมินให้แก่มหาวิทยาลัย *
1 point
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This form was created inside of มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. Report Abuse