แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการนิเทศภายในแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูโรงเรียนเทศบาล ๕ (บ้านตลาดเก่า)
1. แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการนิเทศภายในแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูโรงเรียนเทศบาล ๕ (บ้านตลาดเก่า)  ในประเด็นต่อไปนี้
    1.1  หลักการของรูปแบบ
    1.2  วัตถุประสงค์ของรูปแบบ        
    1.3  เนื้อหาสาระการพัฒนา  
    1.4  กระบวนการนิเทศ  
    1.5  การวัดและประเมินผล  
    1.6  เงื่อนไขของความสำเร็จ  
2. โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องระดับความพึงพอใจที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านโดยคำนึงถึงสภาพความเป็นจริงที่สุดเพียงคำตอบเดียว

Sign in to Google to save your progress. Learn more
1. หลักการของรูปแบบ *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
1.1 หลักการของรูปแบบมีความชัดเจน
1.2 หลักการของรูปแบบมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
2.1 วัตถุประสงค์ของรูปแบบมีความชัดเจน
2.2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
3. เนื้อหาสาระการพัฒนา *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
3.1 เนื้อหาของรูปแบบการนิเทศตรงกับแนวทางการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู
3.2 เนื้อหาครอบคลุมทั้งด้านความรู้และทักษะการปฏิบัติ
3.3 เนื้อหาของรูปแบบการนิเทศมีความยากง่ายพอเหมาะ
3.4 เนื้อหาของรูปแบบการนิเทศช่วยให้ครูมีความสามารถด้านการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
3.5 เนื้อหาในการนิเทศมีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพครู
4. กระบวนการนิเทศ *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
4.1 กระบวนการนิเทศมีความชัดเจน เข้าใจง่ายและเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
4.2 กระบวนการนิเทศแบบผสมผสานกำหนดให้มีการนิเทศแบบพบหน้าและแบบออนไลน์มีความเหมาะสม
4.3 กระบวนการนิเทศมีความสะดวกต่อการพัฒนางาน การมีส่วนร่วมของผู้รับการนิเทศ
4.4 กระบวนการนิเทศแบบผสมผสานช่วยให้ครูมีเวลาพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่
4.5 การนิเทศแบบผสมผสานช่วยให้ครูมีเวลาในการพัฒนานักเรียนในชั้นเรียนมากขึ้น
4.6 การนิเทศแบบผสมผสานส่งเสริมให้ผู้รับการนิเทศสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
4.7 กระบวนการนิเทศช่วยส่งเสริมให้ครูมีความรู้และความสามารถในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
4.8 กระบวนการนิเทศส่งเสริมให้ผู้รับการนิเทศได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
4.9 ผู้รับการนิเทศมีส่วนร่วมในกิจกรรมการนิเทศ
4.10 ผู้รับการนิเทศมีปฏิสัมพันธ์กับผู้นิเทศ
4.11 ผู้รับการนิเทศได้รับการพัฒนาด้านความรู้และความสามารถด้านการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
4.12 กิจกรรมการนิเทศสอดคล้องกับการพัฒนางานในหน้าที่
4.13 ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงานระหว่างกัน
4.14 สื่อที่ใช้ในการนิเทศแบบผสมผสานมีความหลากหลาย
4.15 สื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการนิเทศมีความเหมาะสมกับเนื้อหา
4.16 สื่อที่ใช้มีความทันสมัย น่าสนใจ
4.17 สื่อนิเทศแบบผสมผสานส่งเสริมให้ผู้รับการนิเทศเกิดการเรียนรู้ได้
4.18 สื่อที่ใช้ในการนิเทศแบบผสมผสานมีความสะดวกต่อการนำไปใช้ ช่วยให้ผู้รับการนิเทศสามารถเรียนรู้ได้ ไม่จำกัดเวลาและสถานที่
4.19 สื่อนิเทศช่วยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
5. การวัดและประเมินผล *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
5.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลประเมินผลมีความเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรูปแบ
5.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผลมีความชัดเจนและสะดวกต่อการนำไปใช้
5.3 การวัดผลประเมินผลเปิดโอกาสให้ผู้รับการนิเทศมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
5.4 เกณฑ์ในการประเมินผลการนิเทศมีความเหมาะสม
6. เงื่อนไขของความสำเร็จ *
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
6.1 การกำหนดนโยบายจากผู้บริหารเกี่ยวกับการนิเทศภายในแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
6.2 ผู้นิเทศมีความรู้มีความมั่นใจในการนิเทศ
6.3 ผู้รับการนิเทศมีความตั้งใจและปฏิบัติตามรูปแบบการนิเทศ
6.4 ผู้นิเทศมีการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้รับการนิเทศ
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy