แบบประเมินสอบถามภาวะผู้นำ และการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการงานศูนย์การศึกษาพิเศษ
คำชี้แจง  แบบสอบถามฉบับนี้ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการขอความอนุเคราะห์ท่านพิจารณาเกี่ยวกับภาวะผู้นำ และหลักธรรมาภิบาลเกี่ยวกับการบริหาร ของผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษ คำตอบของท่านไม่มีผลกระทบใดๆ ต่อท่านแต่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารหน่วยงานต่อไป
ข้อมูลผู้ประเมิน/ผู้ตอบแบบสอบถาม
Notīrīt atlasi
แบบสอบถามแบ่งเป็น 4 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1  ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2  ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษ
ตอนที่ 3  ความคิดเกี่ยวกับหลักธรรมมาภิบาลกับการบริหารงานของผู้บริหาร
ตอนที่ 4  ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง  โปรดกาเครื่องหมาย / กดเลือก หน้าข้อความซึ่งตรงกับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ
Notīrīt atlasi
2. อายุ
Notīrīt atlasi
3. วุฒิการศึกษาสูงสุด
Notīrīt atlasi
4. ประเภทตำแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม
Notīrīt atlasi
5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน
Notīrīt atlasi
ตอนที่ 2  ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร ศูนย์การศึกษาพิเศษ
คำชี้แจง  โปรดกาเครื่องหมาย / กดเลือก หน้าช่องความคิดเห็น โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
                5  หมายถึง  มีความพึงพอใจมากที่สุด
                4  หมายถึง  มีความพึงพอใจมาก
                3  หมายถึง  มีความพึงพอใจปานกลาง
                2  หมายถึง  มีความพึงพอใจน้อย
                1  หมายถึง  มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
KPI คือเครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานหรือ ประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ขององค์การซึ่งสามารถแสดงผลของการวัดในรูปข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน KPI คือการระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของผลงาน เพื่อนำมาใช้เป็นหน่วยวัดที่วัดเป็นตัวเลขได้
1. การบริหารงานของผู้บริหาร
5
4
3
2
1
1.1 การชี้แจงถึงกฏระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น ข้อบังคับด้านการบริหารงานบุคคล ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารงาน อัตลักษณ์ของหน่วยงานให้บุคลากรทราบก่อนที่จะปฏิบัติหน้าที่
1.2 การกำกับดูแลหน่วยงานให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย โดยมีการปรับให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารงาน และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น
1.3 การเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ระดับหน่วยงาน และการนำสู่การปฏิบัติหน้าที่เป็นระบบชัดเจน เช่น มีการกำหนดตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ของงานที่ปฏิบัติ
1.4 การสร้างระบบกลไกการถ่ายทอด นโยบาย วิสัยทัศน์ และแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ให้หน่วยงานและบุคลากรทุกระดับทราบและเข้าใจร่วมกัน
1.5 มีระบบฐานข้อมูลของหน่วยงาน ที่มีความทันสมัย สามารถนำมาใช้ในการติดตามการบริหารสารสนเทศ การรายงานผล การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้คุณภาพ (KPI) ที่กำหนดไว้ในแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ได้อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และนำข้อมูลที่ได้นั้นมาใช้เพื่อการตัดสินใจในการปรับแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ได้ทันการ
1.6 การกำกับ ติดตามผลการนำนโยบาย และแผนกลยุทธ์ระดับหน่วยงาน ไปสู่การปฏิบัติโดยผ่านการประชุม เพื่อทบทวนเป้าหมายหรือปรับแผน แะมีการสื่อสารแผนการดำเนินงานไปยังกลุ่มเป้าหมายทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
1.7 การประเมินผลสัมฤทธ์จากการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างครบถ้วนอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง มีการวิเคราะห์และทบทวนเป้าหมาย
1.8 การใช้ระบบการสื่อสาร 2 ทาง (เป็นการสื่อสารที่ผู้รับข้อมูลจะสามามาถสื่อสาร โต้ตอบกับผู้ให้ข้อมูลได้ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผุ้รับข้อมุล มีโอกาสสอบถามข้อสงสัย การแสดงความคิดเห็น) เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากบุคลากรผู้ปฏิบัติงานเพื่อการปรับปรุงระบบการปฏิบัติงาน
1.9 การมอบหมายอำนาจการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานระดับถัดไปเพื่อความคล่องตัว โดยมีการกำกับและตรวจสอบ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพประสิทธิผล คุัมค่า และมีความเสี่ยงในระดับที่ยอมรับได้
1.10 การส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมที่เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจต่อบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เช่น การยกย่องบุคลากรดีเด่น รางวัลคุณภาพ
1.11 การถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ร่วมงาน เพิ่มทักษะในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การสอนงานที่หน้างาน การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานฯ
1.12 การนำหลักการจัดการความรู้มาใช้เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติ
1.13 การดำเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยเฉพาะในประเด็นการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องคุณภาพการให้บริการจากทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงาน
1.14 การติดตามผลการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายในสถาบันการศึกษา และรายงานการเงินของหน่วยงาน ต่อมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกปี
1.15 การนำผลการประเมินจากมหาวิทยาลัย (ผู้กำกับดูแลโดยตรงหรือผู้บริหารระดับสูงที่ต้นสังกัด มาใช้ในการปรับปรุงการบริหารงาน เช่น การจัดทำแผนการบริหารงาน และรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาพสถาบัน (ผู้กำกับโดยตรงหรือผู้บริหารระดับสูงที่ต้นสังกัด) ตามโอกาสที่หมาะสม
Notīrīt atlasi
ตอนที่ 3  ความคิดเกี่ยวกับหลักธรรมมาภิบาลกับการบริหารงานของผู้บริหาร
1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness)
5
4
3
2
1
1.1 มีผลการปฏิบัติงานที่บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายของแผนการปฏิบัติงานตามงบประมาณที่ได้รับ
1.2 มีการกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน
1.3 มีกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน
1.4 มีการติดตาม ประเมินผล และพัฒนา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
2. หลักประสิทธิภาพ (Effciency)
5
4
3
2
1
2.1 มีการออกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน โดยการใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริการจัดการที่เหมาะสมเพื่อการบริหารงาน
2.2 มีการใช้เทคโนโลยีเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทันสมัยเพื่อลดต้นทุนและระยะเวลา
3. หลักการตอบสนอง (Responsiveness)
5
4
3
2
1
3.1 สามารถดำเนินการด้านการให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้
3.2 สามารถสร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจให้แก่ผู้รับบริการ
3.3 สามารถตอบสนองความคาดหวัง/ความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีความหลากหลาย และมีความแตกต่างได้
4. หลักภาระความรับผิดชอบ (Accountability)
5
4
3
2
1
4.1 แสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ และผลงานต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้
4.2 มีความรับผิดชอบต่อความคาดหวังของบุคลากรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4.3 มีสำนึกในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ
5. หลักความโปร่งใส (Transparency)
5
4
3
2
1
5.1 มีกระบวนการทำงานที่เปิดเผยตรงไปตรงมา สามารถตรวจสอบได้ และสามารถชี้แจงได้เมื่อมีข้อสงสัย
5.2 บุคลากรสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์กรได้อย่างทั่วถึง และข้อมูลมีความถูกต้อง
6. หลักการมีส่วนร่วม (Participation)
5
4
3
2
1
6.1 เปิดโอกาสให้บุคลากรได้เข้าร่วมในการับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้อง
6.2 รับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อร่วมคิดแนวทาง หรือร่วมการแก้ไขปัญหา
6.3 เปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการะบวนการตัดสินใจและกระบวนการพัฒนาแผนงานหรืองานด้านต่าง ๆ
7. หลักการกระจายอำนาจ  (Decentralization)
5
4
3
2
1
7.1 มีการถ่ายโอนอำนาจ การตัดสินใจ การใช้ทรัพยากร และภาระกิจ จากผู้บริหารระดับสูง ให้แก่ผู้บริหารระดับกลางและระดับต้น เพื่อให้ดำเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร
7.2 มีการถ่ายโอนอำนาจและความรับผิดชอบในการคตัดสินใจ และการดำเนินการให้แก่บุคลากรโดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพ เพื่อผลการดำเนินงานที่ดีของหน่วยงาน
8. หลักนิติธรรม (Rule of Law)
5
4
3
2
1
8.1 มีการใช้อำนาจตามกฏระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานในการบริหารงานด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบีติ
8.2 มีการใช้อำนาจโดยคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
9.  หลักความเสมอภาค (Equity)
5
4
3
2
1
9.1 ปฏิบัติ/ให้บริการแก่บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกันดดยไม่แบ่งแยก ชาย/หญิง ถิ่นกำหนด เชื้อขาติ ภาษา เพศ ความพิการ สภาพร่างกาย/สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรม และอื่น ๆ
10. หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented)
5
4
3
2
1
10.1 มีการรับฟังข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ได้รับประโยชน์และเสียประโยชน์หรือกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรง
10.2 มีการแสวงหาและสรุปข้อตกลงทั่วไปภายในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 4  ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นๆ ....
ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ
Iesniegt
Notīrīt veidlapu
Nekad neiesniedziet paroles, izmantojot Google veidlapas.