แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัสวิชา ว 23101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เป็นแบบทดสอบปรนัย  จำนวน  60  ข้อ  คะแนน  20  คะแนน ใช้เวลา 60 นาที
Email *
ชื่อ  - สกุล *
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 /......  เลขที่ .............. *
โครงสร้างของระบบนิเวศประกอบด้วยปัจจัยใหญ่ๆ 2 ประการ คือ *
เหาฉลามเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการอยู่ร่วมกันในลักษณะใด *
ผู้บริโภคซากสัตว์กับผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์มีลักษณะเหมือนกันอย่างไร *
ห่วงโซ่อาหารเกี่ยวข้องกับเรื่องใดมากที่สุด *
ข้อใดแสดงลำดับการถ่ายทอดพลังงานในรูปห่วงโซ่อาหารได้ถูกต้อง *
สาร่ายที่เลี้ยงในตู้ปลาร่วมกับปลาทองมีชีวิตอยู่ได้เนื่องจากสาหร่ายได้รับประโยชน์ในด้านใด *
ข้อใดเป็นการทำลายสมดุลธรรมชาติและเกิดผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์มากที่สุด *
สาเหตุสำคัญที่ทำให้ระบบนิเวศบ่อน้ำตื้นเขินอย่างรวดเร็ว เนื่องมาจากสาเหตุใด *
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ *
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศในข้อใดที่มีบทบาทในการควบคุมสมดุลของจำนวนประชากรสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติมากที่สุด *
ข้อใดกล่าวถึงพันธุกรรมได้ถูกต้องที่สุด *
ยีนอยู่บนโครงสร้างใดของสิ่งมีชีวิต *
หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต คือ *
ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยยีนที่แสดงออกมาให้เราสามารถเห็นได้นั้นเราเรียกว่าอะไร *
ข้อใดกล่าวถึงลักษณะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดผ่านยีนด้อยได้ถูกต้อง *
ชายและหญิงที่มีผิวปกติโดยไม่มียีนผิวเผือกแฝงอยู่แต่งงานกัน โอกาสที่ลูกจะมีผิวเผือกเป็นเท่าใด *
กำหนดให้ A เป็นแอลลีลเด่น (ต้นสูง) และ a เป็นแอลลีลด้อย (ต้นเตี้ย) เมื่อนำพ่อพันธุ์ที่มีจีโนไทป์ Aa ผสมกับแม่พันธุ์ที่มีจีโนไทป์ Aa ในการผสมพันธุ์ลูกที่เกิดมามีโอกาสต้นเตี้ยคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ *
โรคตาบอดสีเกิดจากความผิดปกติใด *
คนที่มีโครโมโซมเพศ XO จะแสดงรูปร่างและลักษณะทางเพศอย่างไร *
เป็นเพศชายที่มีเต้านมโตคล้ายผู้หญิง อวัยวะเพศเล็ก เป็นหมัน โครโมโซมร่างกายจะเป็นแบบใด *
การป้องกันการเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมควรปฏิบัติอย่างไร *
ความผิดปกติที่เกิดกับหน่วยพันธุกรรม ทำให้หน่วยพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม เรียกว่า *
ข้อใดกล่าวคือประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมในด้านการแพทย์ *
ข้อใดคือผลกระทบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่มีต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด *
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการตัดต่อพันธุกรรม *
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ *
ข้อใดไม่ใช่ความหลากหลายทางชีวภาพ *
ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสำคัญต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศอย่างไร *
สิ่งมีชีวิตชนิดใดใช้ประโยขน์จากความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด *
ข้อใดไม่ใช่แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ *
ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิก *
วัตถุดิบใดที่ใช้ในการผลิตเซรามิก ทำให้โครงสร้างของผลิตภัณฑ์เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ *
ข้อใดไม่ใช่วัสดุผสม *
การใช้ภาชนะเซรามิกใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าวเป็นสารในข้อใด *
ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างของพอลิเมอร์ *
ข้อใดจัดเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติทั้งหมด *
ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของเส้นใยธรรมชาติ *
เส้นใยในข้อใดได้จากใบไม้ *
ข้อใดเป็นแนวทางการลดการใช้ (reduce)           พอลิเมอร์ *
ข้อใดเป็นแนวทางการนำพอลิเมอร์กลับมาใช้ใหม่ (recycle) *
การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงตามข้อใด *
น้ำเมื่อได้รับความร้อนสูงกลายเป็นไอลอยในอากาศ เป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมีหรือไม่ อย่างไร *
ข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น *
การเปลี่ยนแปลงในข้อใดไม่ใช่การเกิดปฏิกิริยาเคมี *
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยาดูดความร้อน *
ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สในข้อใด จะได้น้ำเป็นผลิตภัณฑ์ *
การเปลี่ยนแปลงในข้อใดไม่เป็นไปตามกฎทรงมวล *
การกระทำในข้อใดเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี *
ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดเมือปฏิกิริยาสิ้นสุดลงแล้วสิ่งแวดล้อมจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น *
เมื่อเกิดปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสจะเกิดสารในข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ *
ข้อใดไม่ใช่การนำความรู้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีมาใช้ในชีวิตประจำวัน *
 ถ้านักเรียนถูกผึ้งต่อยจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อน เนื่องจากสารที่ผึ้งปล่อยเข้าสู่ร่างกายเรามีสมบัติเป็นกรด สารในข้อใดที่ช่วยลดอาการปวดแสบปวดร้อนจากพิษของผึ้งได้ *
ธาตุในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดฝนกรด *
ข้อใดเขียนและดุลสมการเคมีได้ถูกต้อง *
ข้อใดเขียนและดุลสมการเคมีได้ถูกต้อง *
การป้องกันสนิมที่อาจเกิดขึ้นกับเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำมาจากเหล็กสามารถทำได้อย่างไร *
เพราะเหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่ต้มยำ *
เผาแมกนีเซียม 2.4 กรัม ในอากาศได้แมกนีเซียมออกไซด์มวล 4 กรัม มวลออกซิเจนในอากาศที่ทำปฏิกิริยากับแมกนีเซียมมีค่าเท่าไร *
แก๊สในข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก *
ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบที่เกิดจากฝนกรดโดยตรง *
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy